จิตวิทยาสังคม : ทฤษฎีและการประยุกต์
SAVE 40%
฿131.75 ฿220
Type :
Ebook
Publisher : SE-ED
Author : สิทธิโชค วรานุสันติกุล
ISBN : 9745347043
Language : thai
Number of Pages : 342
File Size : 48.91 MB
Publisher : SE-ED
Author : สิทธิโชค วรานุสันติกุล
ISBN : 9745347043
Language : thai
Number of Pages : 342
File Size : 48.91 MB
จิตวิทยาสังคม : ทฤษฎีและการประยุกต์
การทำความเข้าใจกับพฤติกรรมมนุษย์ในเหตุการณ์ทางสังคมโดยทั่วไป
ผู้เขียน สิทธิโชค วรานุสันติกุล
เนื้อหาที่เกี่ยวกับการทำความเข้าใจกับพฤติกรรมมนุษย์ในเหตุการณ์ทางสังคมโดยทั่วไปซึ่งบางครั้งอธิบายด้วยสามัญสำนึกก็ไม่ได้ความกระจ่างชัด โดยได้กล่าวถึงหลักการ ทฤษฎีต่างๆ และผลการวิจัยมากมายทางจิตวิทยาสังคมที่อธิบายพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ในมุมมองของหัวข้อเรื่องที่สำคัญต่อไปนี้คือ สังคมประกิตหรือการเรียนรู้เพื่อกล่อมเกลาบุคลิกภาพและพฤติกรรม, การรับรู้ทางสังคม, เจตคติและการเปลี่ยนแปลงเจตคติ, แรงจูงใจทางสังคมและการทำงาน, การใช้อิทธิพลทางสังคมเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคน, อิทธิพลของกระบวนการกลุ่มกับพฤติกรรมมนุษย์, ภาวะผู้นำ และพฤติกรรมการช่วยเหลือกัน การร่วมมือ การขัดแย้งกัน และการก้าวร้าวต่อกัน และนอกจากจะได้กล่าวถึงหลักการและทฤษฎีแล้ว ยังได้กล่าวถึงการนำเอาความรู้จากทฤษฎีและหลักการทางจิตวิทยาดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการทำงาน ดังนั้นนอกจากหนังสือเล่มนี้จะเหมาะสำหรับใช้อ่านประกอบการเรียนการสอนวิชา 'จิตวิทยาสังคม' ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีแล้ว ผู้เขียนยังได้เขียนให้อ่านง่ายเพื่อที่จะให้บุคคลทั่วไปได้อ่าน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ด้วย
สารบัญ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาสังคม
บทที่ 2 สังคมประกิต
บทที่ 3 การรับรู้ทางสัมคม
บทที่ 4 เจตคติ
บทที่ 5 แรงจูงใจทางสังคมและการทำงาน
บทที่ 6 อิทธิพลทางสังคม
บทที่ 7 พฤติกรรมมนุษย์ในกลุ่ม
บทที่ 8 ภาวะผู้นำ
บทที่ 9 การช่วยเหลือ การร่วมมือ การแข่งขัน การขัดแย้ง และความก้าวร้าว
การทำความเข้าใจกับพฤติกรรมมนุษย์ในเหตุการณ์ทางสังคมโดยทั่วไป
ผู้เขียน สิทธิโชค วรานุสันติกุล
เนื้อหาที่เกี่ยวกับการทำความเข้าใจกับพฤติกรรมมนุษย์ในเหตุการณ์ทางสังคมโดยทั่วไปซึ่งบางครั้งอธิบายด้วยสามัญสำนึกก็ไม่ได้ความกระจ่างชัด โดยได้กล่าวถึงหลักการ ทฤษฎีต่างๆ และผลการวิจัยมากมายทางจิตวิทยาสังคมที่อธิบายพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ในมุมมองของหัวข้อเรื่องที่สำคัญต่อไปนี้คือ สังคมประกิตหรือการเรียนรู้เพื่อกล่อมเกลาบุคลิกภาพและพฤติกรรม, การรับรู้ทางสังคม, เจตคติและการเปลี่ยนแปลงเจตคติ, แรงจูงใจทางสังคมและการทำงาน, การใช้อิทธิพลทางสังคมเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคน, อิทธิพลของกระบวนการกลุ่มกับพฤติกรรมมนุษย์, ภาวะผู้นำ และพฤติกรรมการช่วยเหลือกัน การร่วมมือ การขัดแย้งกัน และการก้าวร้าวต่อกัน และนอกจากจะได้กล่าวถึงหลักการและทฤษฎีแล้ว ยังได้กล่าวถึงการนำเอาความรู้จากทฤษฎีและหลักการทางจิตวิทยาดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการทำงาน ดังนั้นนอกจากหนังสือเล่มนี้จะเหมาะสำหรับใช้อ่านประกอบการเรียนการสอนวิชา 'จิตวิทยาสังคม' ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีแล้ว ผู้เขียนยังได้เขียนให้อ่านง่ายเพื่อที่จะให้บุคคลทั่วไปได้อ่าน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ด้วย
สารบัญ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาสังคม
บทที่ 2 สังคมประกิต
บทที่ 3 การรับรู้ทางสัมคม
บทที่ 4 เจตคติ
บทที่ 5 แรงจูงใจทางสังคมและการทำงาน
บทที่ 6 อิทธิพลทางสังคม
บทที่ 7 พฤติกรรมมนุษย์ในกลุ่ม
บทที่ 8 ภาวะผู้นำ
บทที่ 9 การช่วยเหลือ การร่วมมือ การแข่งขัน การขัดแย้ง และความก้าวร้าว