ผลกระทบของความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร ที่ต้องปรับปรุงกำไรสุทธิ 2
SAVE 44%
฿309 ฿550
Type :
Ebook
Year of Publish : 2016
Publisher : DHARMNITI
Author : สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
ISBN : 976-616-302-141-0
Language : thai
Number of Pages : 496
File Size : 12.73 MB
Year of Publish : 2016
Publisher : DHARMNITI
Author : สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
ISBN : 976-616-302-141-0
Language : thai
Number of Pages : 496
File Size : 12.73 MB
ปัญหาในการจัดทำบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีที่มักจะเกิดขึ้นกับธุรกิจไม่ว่าจะเป็นกิจการ PAEs หรือกิจการ NPAEs ก็คือ ความแตกตางระหว่างมาตรฐานการบัญชีภาษีอากร อันเนื่องจากหลักเกณฑ์ของมาตรฐานการบัญชีกับภาษีที่มีหลักเกณฑ์ปฏิบัติไม่เหมือนกัน จึงทำให้เกิดข้อถกเถียงกันอยู่เป็นประจำว่า จะต้องทำอย่างไรให้ถูกต้องทั้งมาตรฐานการบัญชีและภาษีอากรหลักเกณฑ์ที่สำคัญ กิจการจะต้องยึดหลักการจัดทำบัญชีจะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี แต่เมื่อยื่นแบบเพื่อเสียภาษีอากร กิจการจะต้องปรับปรุง (บวกกลับ) ให้ถูกต้องตามประมวลรัษฎากร แต่หากผู้ทำบัญชีขาดความรู้ ความแม่นยำของมาตรฐานการบัญชีภาษีอากร ก็จะทำให้กิจการปรับปรุงไม่ถูกต้อง ปรับปรุงไม่ครบถ้วน อาจจะทำให้กิจการเสียเบี้ยปรับ เงินเพิ่มได้
หนังสือ ผลกระทบของความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากรที่ต้องปรับปรุงกำไรสุทธิ (บวกกลับ) Partll ประเด็น “สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ” ได้จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเป็นแนวปฏิบัติให้นักบัญชีได้มีการเปรียบเทียบและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษีอากรในประมวลรัษฎากร
สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
มีนาคม 2559
สารบัญ
Chapter 1 ผลกระทบความแตกต่างของ “สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ”
Chapter 2 ผลกระทบความแตกต่างของ “นโยบายการบัญชีการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 3 ผลกระทบความแตกต่างของ “หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 4 ผลกระทบความแตกต่างของ “อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 5 ผลกระทบความแตกต่างของ “ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 6 ผลกระทบความแตกต่างของ “สินทรัพย์ไม่มีตัวตน” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 7 ผลกระทบความแตกต่างของ “ต้นทุนการกู้ยืม” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 8 ผลกระทบความแตกต่างของ “การด้อยค่าของสินทรัพย์” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 9 ผลกระทบความแตกต่างของ “ประมาณการหนี้สิน” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 10 ผลกระทบความแตกต่างของ “สัญญาเช่า (Leasing)” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 11 ผลกระทบความแตกต่างของ “ผลประโยชน์ของพนักงาน” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 12 ผลกระทบความแตกต่างของ “กำไรต่อหุ้น” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
หนังสือ ผลกระทบของความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากรที่ต้องปรับปรุงกำไรสุทธิ (บวกกลับ) Partll ประเด็น “สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ” ได้จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเป็นแนวปฏิบัติให้นักบัญชีได้มีการเปรียบเทียบและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษีอากรในประมวลรัษฎากร
สมเดช โรจน์คุรีเสถียร
มีนาคม 2559
สารบัญ
Chapter 1 ผลกระทบความแตกต่างของ “สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ”
Chapter 2 ผลกระทบความแตกต่างของ “นโยบายการบัญชีการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 3 ผลกระทบความแตกต่างของ “หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 4 ผลกระทบความแตกต่างของ “อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 5 ผลกระทบความแตกต่างของ “ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 6 ผลกระทบความแตกต่างของ “สินทรัพย์ไม่มีตัวตน” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 7 ผลกระทบความแตกต่างของ “ต้นทุนการกู้ยืม” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 8 ผลกระทบความแตกต่างของ “การด้อยค่าของสินทรัพย์” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 9 ผลกระทบความแตกต่างของ “ประมาณการหนี้สิน” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 10 ผลกระทบความแตกต่างของ “สัญญาเช่า (Leasing)” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 11 ผลกระทบความแตกต่างของ “ผลประโยชน์ของพนักงาน” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร
Chapter 12 ผลกระทบความแตกต่างของ “กำไรต่อหุ้น” ตามมาตรฐานการบัญชี TFRS กับภาษีอากร